ภาวะโลกร้อนต่อไทย

สารคดีโลกร้อน

วันเสาร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2552

ปัจจัยที่ทำให้โลกร้อน

ปัจจัยที่ทำให้โลกร้อน
1.การใช้ถ่านหินในกลุ่มประเทศที่กำลังพัฒนา และกึ่งพัฒนา ยังคงใช้อยู่ เพราะเป็นพลังงานที่ถูกที่สุด
2.การรุกล้ำ พรมแดนสีเขียวแหล่งสุดท้ายของโลก กำลังจะหมดไป
3.สารเคมี จำนวนมากที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจก
4.ประชากรโลกที่มากขึ้นทำให้สมดุลการผลิต การบริโภค ไม่สมดุลกัน ต้องผลิตมากกว่าบริโภค ทำให้เกิดการสูญเปล่าปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดสภาวะโลกร้อน

ปรากฏการณ์ และภัยธรรมชาติทั้งหลาย ไม่ว่าจะเป็นน้ำท่วม แผ่นดินไหว ต่างก็เกิดจากสภาวะโลกร้อนที่มีมูลเหตุมาจากการปล่อยก๊าซพิษต่าง ๆ จากโรงงานอุตสาหกรรม ทำให้แสงอาทิตย์ส่องทะลุผ่านชั้นบรรยากาศมาสู่พื้นโลก ได้มากขึ้น ซึ่งนั่นเป็นที่รู้จักกันโดยเรียกว่า สภาวะเรือนกระจก

ก๊าซเรือนกระจกที่สำคัญ 6 ชนิด ที่จะต้องลดการปล่อย ได้แก่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ( CO2) ก๊าซมีเทน (CH4) ก๊าซไนตรัสออกไซด์ ( N2O) ก๊าซไฮโดรฟลูโรคาร์บอน ( HFCS) ก๊าซเปอร์ฟลูโรคาร์บอน ( CFCS) และก๊าซซัลเฟอร์เฮกซ่าฟลูโอโรด์ ( SF6 ) คาร์บอนไดออกไซด์ เป็นก๊าซที่ส่งผลกระทบต่อบรรยากาศโลกมากที่สุด ซึ่งประเทศไทยเองก็มีการปล่อยก๊าซชนิดนี้ออกมา ซึ่งประเทศไทยเองก็มีการปล่อยก๊าซชนิดนี้ออกมาในบรรยากาศไม่น้อยหน้าประเทศอื่นโดยมีที่มาจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงฟอสซิลไม่ว่าจะเป็นถ่านหิน น้ำมันเชื้อเพลิง หรือ ก๊าซธรรมชาติ เพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้า

วันอังคารที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2552

ลดภาวะโลกร้อน Global warming

หน้าที่ ที่ทุกคนต้องทำเพื่อโลกของเรา

1.ขับรถให้น้อยลง
2. เช็คลมยาง
3. รีไซเคิลของใช้
4. ปลูกต้นไม้
5.ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ไม่ใช่
6.ขี่จักรยาน
7.ใช้รถที่เป็นมวลชน เช่น รถเมล์
8.ประหยัดไฟฟ้า
9.ลดการใส่พลาสติก
10.ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

วันอังคารที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2552

ประเภทการตัดสินใจ

ประเภทของการตัดสินใจมี 3 ประเภท คือ
1. การตัดสินใจแบบโครงสร้าง(Structure)
2. การตัดสินใจแบบไม่เป็นโครงสร้าง(Unstructure)
3. การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง (Semistructure)
1.การตัดสินใจแบบโครงสร้าง(Structure)
เมื่อมีการกำหนดโปรแกรมการตัดสินใจ องค์กรจะต้องเตรียมกฎเกณฑ์การตัดสินใจไว้ โดยแสดงขั้นตอนที่ต้องปฏิบัติ ซึ่งอาจเป็นการตัดสินใจ (flow chart) ตารางการตัดสินใจหรือสูตรต่างๆ ขั้นตอนการตัดสินใจต้องระบุถึงสารสนเทศที่ต้องการ ก่อนที่จะนำไปประยุกต์ใช้กับกฎเกณฑ์การตัดสินใจแบบมีโครงสร้างนั้น จำเป็นต้องมีระบบสารสนเทศอย่างเด่นชัดและมีการนำข้อมูลเข้าที่เป็นไปตามขั้นตอนอย่างแน่นอน มีขั้นตอนการตรวจสอบจนเป็นที่แน่ใจได้ว่าถูกต้อง ทั้งความสมบูรณ์ของ การนำข้อมูลเข้าและการประมวลผล โดยใช้หลักการตัดสินใจทางตรรก (logic) และผลลัพธ์ที่ได้จากการตัดสินใจแบบนี้ จะอยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้งาน คือ จะต้องเด่นชัดในแง่ที่ว่า จะนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไรและควรมีข้อมูลอย่างเพียงพอที่จะช่วยให้ผู้รับสามารถนำไปใช้เพื่อการตัดสินใจ จากหลายๆ กรณีที่ไม่อาจจะกำหนดขั้นตอนหรือกฎเกณฑ์การตัดสินใจเพื่อประยุกต์ใช้กับสถานการณ์ธรรมดาทั่วๆ ไป ให้ได้มากที่สุดสำหรับสถานการณ์ที่แตกต่างออกไป และไม่สามารถที่จะนำมาประยุกต์ใช้ได้ เราจะใช้คนเป็นผู้ตัดสินใจ ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยความรู้ความสามารถเฉพาะด้าน
2.การตัดสินใจแบบไม่เป็นโครงสร้าง(Unstructure)
การตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง ย่อมไม่สามารถกำหนดขั้นตอนการตัดสินใจไว้ก่อนล่วงหน้า อาจเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงที่มีอยู่บ่อยครั้ง ทำให้องค์กรต้องเสียค่าใช้จ่ายใน การเตรียมขั้นตอน การตัดสินใจหรือความไม่เข้าใจวิธีการประมวลดีพอหรือมีการเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้ง จนไม่สามารถจะกำหนดขั้นตอนการตัดสินใจที่เป็นถาวรได้ สิ่งสนับสนุนการตัดสินใจโครงสร้างแบบนี้ ได้แก่ การประมวลผลข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ และขั้นตอนการตัดสินใจที่จะประยุกต์เพื่อหาคำตอบจากปัญหา ข้อมูลที่ต้องการอาจจะจัดหามาก่อนล่วงหน้า ดังนั้นการดึงข้อมูลอาจเกิดตามการร้องขอระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้างจะใช้วิธีการถาม – ตอบและการวิเคราะห์
3.การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง (Semistructure
เป็นการตัดสินใจต่อเหตุการณ์ที่ไม่สามารถคาดการณ์ได้ล่วงหน้าหรือคาดการณ์ได้ยากคุณลักษณะของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
1) จัดเตรียมสารสนเทศซึ่งได้ทำการประมวลผลแล้วจากการประมวลผลข้อมูล เพื่อช่วยในการตัดสินใจ
2) สนับสนุนการตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้างหรือแบบกึ่งโครงสร้าง
3) สนับสนุนการตัดสินใจของผู้ใช้
4) ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูงระบบสารสนเทศที่มีพื้นฐานการทำงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยให้ผู้บริการระดับสูงสามารถเข้าถึง รวบรวม วิเคราะห์ และการประมวลผลสารสนเทศ ทั้งภายในและภายนอกองค์กร ตามความต้องการได้อย่างสะดวกและรวดเร็วคุณลักษณะของระบบเพื่อผู้บริหารระดับสูงเป็นระบบซึ่งพัฒนาขึ้นมาเพื่ออำนวยความสะดวกในการทำงานของผู้บริหารระดับสูง
5) ระบบผู้เชี่ยวชาญเป็นระบบที่ทำหน้าที่เสมือนผู้เชี่ยวชาญที่ให้คำปรึกษาแก่ผู้บริหารระดับสูง เนื่องจากบางครั้งต้องตัดสินปัญหาที่มีความซับซ้อนเกินกว่าจะตัดสินใจตามลำพังได้ ดังนั้นผู้ให้บริการอาจใช้ระบบผู้เชี่ยวชาญ เพื่อให้คำแนะนำ หรือให้คำปรึกษา ค้นหาช่องทาง และโอกาส เพื่อจัดการกับปัญหาที่เผชิญอยู่

แหล่งอ้างอิง http://mlearning.wu.ac.th/moodle145/mod/forum/discuss.php?d=13429

เทคโนโลยีการสื่อสารชนิดต่างๆ ( บรรยายโดย นศ. BM )

1.นางสาว เตือนใจ ราณะเรศ "Wimax"ดูบล๊อค
2.นางสาวทรัสตี สุวรรณท า "3G"ดูบล๊อค
3.นายภูริชญ์ ลัฐิกาพงศ์ "Bluetooth"ดูบล๊อค
4.นายวรงกรณ์ อารีย์ "CDMA"ดูบล๊อค
5.นายสุขสันต์ เชียงการ" GSM" ดูบล๊อค
6.นางสาวสุจิตรา สามติ๊บ "Microwave"ดูบล๊อค
7.นางสาวสุพิชฌาย์ บินซอและฮ์ "CDMA"ดูบล๊อค
8.นางสาวศิริกัญญา วงศ์ประสิทธิ์ "Cellular"ดูบล๊อค
9.นายกิติพงษ์ ชัยยะ "Wimax"ดูบล๊อค
10.นางสาวอัญชลี ทิพย์ปลูก "WiFi"ดูบล๊อค
11.นางสาวดาราวรรณ แก้วเอี่ยม "Satellite"ดูบล๊อค
12.นายวนากรณ์ เหมบุตร "Optic fiber"ดูบล๊อค